การคำนวณหาค่าอัตราส่วนของเหล็กเสริมที่สภาวะสมดุล

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาพาเพื่อนๆ ไปลงรายละเอียดในรายการคำนวณการตรวจสอบหาค่าการเสียรูปภายในหน้าตัดของโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กในแต่ละหน้าแต่ละหัวข้อไปพร้อมๆ กันนะ โดยที่ในวันนี้ผมก็จะมาต่อกนในหน้าที่ 2 หลังจากที่เมื่อในสัปดาห์ที่แล้วผมได้ลงรายละเอียดเกี่ยวกับเนื้อหาในการคำนวณในหน้าที่ 1 ไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ซึ่งก็คือรูปที่ผมได้นำเอามาประกอบคำอธิบายในวันนี้นะครับ โดยที่ในหน้านี้หลักๆ แล้วก็จะว่าด้วยเรื่องของการคำนวณหาคุณสมบัติและรายละเอียดต่างๆ เกี่ยวกับงานออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก … Read More

ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้ – พื้นฐานและประสบการณ์ในการออกแบบ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตคั่นการโพสต์เกี่ยวกับเรื่องเทคนิคต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่องพื้นฐานและประสบการณ์ในการออกแบบที่ผมเคยได้เกริ่นไปเมื่อสัปดาห์ที่แล้วว่าผมจะค่อยๆ ทยอยนำเอามาฝากและเล่าสู่กันฟังแก่น้องๆ เนื่องด้วยผมมีโอกาสได้ไปพบเจอเข้ากับโพสต์ดีๆ โพสต์หนึ่งซึ่งจริงๆ แล้วเป็นบทความที่เขียนโดยท่านอาจารย์จิรายุทธ สืบสุข ซึ่งท่านได้เขียนเอาไว้ดีมากๆ วันนี้จึงขออนุญาตนำเอาบทความๆ นี้มาแบ่งปันกับเพื่อนๆ … Read More

เทคนิคการใช้งานซอฟต์แวร์ที่มีกระบวนการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยไฟไนต์อีลีเม้นต์ หรือ FINITE ELEMENT ANALYSIS

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ สืบเนื่องมาจากการที่มีรุ่นน้องวิศวกรท่านหนึ่งเค้าคงจะทราบมาว่าตัวผมนั้นเป็นสามัญวิศวกรโยธาที่ทำงานทางด้านการออกแบบและการเสริมกำลังให้แก่โครงสร้างมาก็ไม่น้อย เค้าจึงได้ฝากคำถามสั้นๆ แต่ได้ใจความเข้ามาคำถามหนึ่งในทำนองว่า อยากให้ผมให้ข้อแนะนำเกี่ยวกับเทคนิคการใช้งานซอฟต์แวร์ที่มีกระบวนการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยไฟไนต์อีลีเม้นต์ หรือ FINITE ELEMENT ANALYSIS หรือเขียนสั้นๆ ว่า … Read More

ถาม-ตอบชวนสนุก ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากรูปที่ผมได้แนบมาในโพสต์ๆ นี้จะแสดงให้เห็นถึงแบบแปลนและรูปตัดของโครงสร้างรั้วซึ่งจะต้องทำหน้าที่รองรับน้ำหนักของผนังอิฐก่อและดินถมดังรูป หากเพื่อนๆ มีทางเลือกที่จะทำการก่อสร้างให้ระบบของโครงสร้างฐานรากนั้นเป็นดังกรณีต่อไปนี้ กรณีที่ 1 … Read More

ความรู้ที่มีประโยชน์เพื่อคุณผู้หญิง – วิธีในการออกแบบโครงสร้างแผ่นเหล็กที่จะทำหน้าที่รองรับแรงกดสำหรับโครงสร้างเสาเหล็กรูปพรรณ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ เมื่อในสัปดาห์ที่แล้วผมได้ทำการพูดและอธิบายถึง วิธีในการออกแบบโครงสร้างแผ่นเหล็กที่จะทำหน้าที่รองรับแรงกดสำหรับโครงสร้างเสาเหล็กรูปพรรณ หรือ COLUMN BEARING PLATE ไปแล้วเป็นที่เรียบร้อย ดังนั้นในวันนี้ก็จะขออนุญาตมาทำการยกตัวอย่างถึงการออกแบบเจ้าโครงสร้างแผ่นเหล็กที่จะทำหน้าที่รองรับแรงกดสำหรับโครงสร้างเสาเหล็กรูปพรรณให้เพื่อนๆ ได้รับชมกันบ้าง ซึ่งผมก็จะขอหยิบยกและนำเอาปัญหาที่ผมได้ใช้ตั้งเป็นคำถามกับเพื่อนๆ ไปเมื่อวันเสาร์และวันอาทิตย์ที่ผ่านมา โดยที่จะมีข้อมูลเพิ่มเติมดังต่อไปนี้นะครับ … Read More

ค่าโมเมนต์ดัดแบบลบที่จะนำมาใช้เพื่อการออกแบบ หรือ DESIGN NEGATIVE MOMENT ของคาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้ ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ ผมขอสมมติว่าในรูปเป็นผลจากการวิเคราะห์โครงสร้างคาน คสล ซึ่งเป็นกรณีของ น้ำหนักบรรทุกเพิ่มค่า หรือ FACTORED LOAD ซึ่งก็จะมี … Read More

ความรู้เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ หลังจากที่ในหลายๆ สัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมได้ทำการพูดถึงเกี่ยวกับเรื่อง ระบบแผ่นพื้น ที่มีการใช้งานในระบบโครงสร้างเหล็กรูปพรรณจบไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว วันนี้ผมจึงคิดว่าน่าจะถึงเวลาที่จะขึ้นหัวข้อใหม่แต่เก่า … ไม่งงใช่มั้ยครับ ? สาเหตุที่ผมแจ้งว่าหัวข้อในวันนี้เป็นหัวข้อใหม่แต่ก็เก่าด้วยนั้นเป็นเพราะว่า ก่อนหน้านี้ผมเคยพูดถึงเรื่องๆ นี้ไปบ้างแล้ว เพียงแต่เป็นการอธิบายโดยสังเขป … Read More

ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้ – พื้นฐานและประสบการณ์ในการออกแบบ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตคั่นการโพสต์เกี่ยวกับเรื่องเทคนิคต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่องพื้นฐานและประสบการณ์ในการออกแบบที่ผมเคยได้เกริ่นไปเมื่อสัปดาห์ที่แล้วว่าผมจะค่อยๆ ทยอยนำเอามาฝากและเล่าสู่กันฟังแก่น้องๆ เนื่องด้วยผมมีโอกาสได้ไปพบเจอเข้ากับโพสต์ดีๆ โพสต์หนึ่งซึ่งจริงๆ แล้วเป็นบทความที่เขียนโดยท่านอาจารย์จิรายุทธ สืบสุข ซึ่งท่านได้เขียนเอาไว้ดีมากๆ วันนี้จึงขออนุญาตนำเอาบทความๆ นี้มาแบ่งปันกับเพื่อนๆ … Read More

สร้างพื้นแบบไฮบริด หรือ HYBRID STRUCTURAL SLAB

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ตอนนี้เรากำลังพูดถึงเรื่องงาน โครงสร้างเหล็กรูปพรรณ หรือ STRUCTURAL STEEL กันอยู่และหลังจากที่ก่อนหน้านี้ผมได้พูดถึงหลายๆ เรื่องที่มีความเกี่ยวพันกันกับโครงสร้างเหล็กรูปพรรณไปแล้ว เช่น โครงสร้างคานเหล็กรูปพรรณ หรือ STRUCTURAL STEEL … Read More

1 2 3 4 5