บทความการตอกเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile ไมโครไพล์ Micropile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ หรือเข็มไอ I-Micropile เสาเข็มเพื่อการต่อเติม เสริมฐานราก และงานสร้างใหม่ ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐาน ISO 9001:2015 ภายใต้การรับรองระบบงานของ UKAS และ NAC และมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม (The Provision of Pile Driving Service)

ภูมิสยาม-มาตรฐานการทดสอบคุณภาพเสาเข็ม

มาตรฐานการทดสอบคุณภาพเสาเข็ม Bending Test Compression Test Dynamic Load Test Calibration of Machine Our Lab Testing Room ขั้นตอน การตรวจสอบคุณภาพเสาเข็มก่อนจำหน่าย วัตถุดิบลวดเชื่อม ใบทดสอบมาตรฐานลวดเชื่อม   … Read More

คอนกรีตไหลเข้าแบบง่าย

คอนกรีตไหลเข้าแบบง่าย คุณสมบัติ คอนกรีตไหลเข้าแบบง่าย ถูกออกแบบมาให้มีคุณสมบัติความลื่นไหลสูงและมีการแยกตัวต่ำ จึงเหมาะสำหรับงานที่ต้องการความสามารถในการไหลเข้าแบบได้ง่ายกว่าคอนกรีตปกติทั่วไป และไม่ต้องทำคอนกรีตให้แน่น เช่นงานโครงสร้างอาคารที่มีเหล็กเสริมหนาแน่น เพื่อช่วยลดการเกิดโพรงที่บริเวณโครงสร้างเมื่อถอดแบบ คอนกรีตชนิดนี้มีหลักการออกแบบ ที่ต้องคำนึงถึงทั้งค่าอัตราส่วนน้ำต่อซีเมนต์ที่เหมาะสม และปริมาณส่วนละเอียดที่เพียงพอ ที่จะทำให้คอนกรีตไหลเข้าแบบได้ง่ายโดยไม่ต้องทำคอนกรีตให้แน่น นอกจากนี้ขนาดโตสุดและขนาดคละของมวลรวม ยังเป็นสิ่งสำคัญที่จำเป็นต้องคำนึงถึงอีกด้วย ขั้นตอนการทำงาน คอนกรีตชนิดนี้ ถูกออกแบบมาให้เหมาะสำหรับโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก ที่มีปริมาณเหล็กเสริมในปริมาณมาก โครงสร้างที่มีความหนาค่อนข้างน้อย หรือโครงสร้างเปลือกบาง … Read More

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ คืออะไร? เลือกใช้ในงานสร้างใหม่ได้หรือไม่??

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ คืออะไร? เลือกใช้ในงานสร้างใหม่ได้หรือไม่?? เสาเข็มสปันไมโครไพล์ คือเสาเข็มขนาดเล็ก ที่ผลิตโดยใช้แรงเหวี่ยง (สปัน=กรอ,หมุน,ปั่น,เหวี่ยง) เพื่อความหนาแน่น แข็งแรง ทนทานของเนื้อคอนกรีต โดยเสาเข็มมีโครงสร้างเหล็กฝังอยู่ในเนื้อคอนกรีตโดยรอบ ถูกออกแบบมาเพื่อการรับน้ำหนัก เมื่อใช้ตอกในงานสร้างใหม่ทำให้สามารถรองรับน้ำหนักโครงสร้างได้ดี และเพื่อให้มั่นใจว่าเสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัย ถูกต้องตามหลักวิศวกรรม ทางภูมิสยาม มีการทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีพลศาสตร์ (Dynamic Load Test) … Read More

การทดสอบเพื่อหาความยาวของโครงสร้างเสาเข็มโดยวิธีการทดสอบทางอ้อม วิธีการที่จะมีความนิยมนำมาใช้ก็คือ PARALLEL SEISMIC TEST

การทดสอบเพื่อหาความยาวของโครงสร้างเสาเข็มโดยวิธีการทดสอบทางอ้อม วิธีการที่จะมีความนิยมนำมาใช้ก็คือ PARALLEL SEISMIC TEST ซึ่งการทดสอบหาค่าขนาดความยาวของโครงสร้างเสาเข็มโดยวิธี PARALLEL SEISMIC TEST นั้นจะต้องเริ่มต้นจากการที่เราจะต้องมีข้อมูลหรือหากไม่มีข้อมูลใดๆเลย ต้องทำการคาดเดาก่อนว่าเสาเข็มต้นที่เราต้องการจะทำการทดสอบนั้นจะมีความลึกประมาณเท่าใด หลังจากนั้นก็ให้ทำการสร้างหลุมเจาะขึ้นมาโดยให้อยู่ภายในรัศมีไม่เกินประมาณ 1500 มม. จากตำแหน่งของโครงสร้างเสาเข็มที่เราต้องการที่จะทำการทดสอบ ต่อมาเราจะอาศัยการส่งถ่ายสัญญาณในลักษณะคลื่นลงไป ซึ่งเราจะค่อยๆ ทำการส่งผ่านให้คลื่นดังกล่าวนั้นเดินทางลงไปในโครงสร้างฐานรากและโครงสร้างเสาเข็มโดยที่เรามักจะใช้อุปกรณ์จำพวกค้อนกระแทกให้ทำหน้าที่เป็นตัวออกแรงกระแทกเพื่อที่จะได้ส่งสัญญาณคลื่นนี้ลงไป (โดยที่มีข้อแม้อยู่นิดหนึ่งว่า ด้านบนของโครงสร้างฐานรากหรือโครงสร้างเสาตอม่อนั้นจะต้องมีความต่อเนื่องกันกับโครงสร้างเสาเข็ม) … Read More

ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง ความสำคัญของค่าตัวคูณเพื่อหาความยาวประสิทธิผลในโครงสร้างที่ต้องทำหน้าที่ในการรับแรงอัด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ ตามที่ผมได้เรียนเพื่อนๆ ไปเมื่อในสัปดาห์ที่แล้วว่าวันนี้ผมจะขออนุญาตมาพูดถึงเรื่อง สมการค่าแรงอัดวิกฤติของออยเลอร์ กันต่ออีกสักหนึ่งโพสต์เพราะจริงๆ แล้วเรื่องนี้เป็นเรื่องหนึ่งที่มีความสำคัญมากเกี่ยวกับวิชากลศาสตร์ของวัสดุหรือ MECHANICS OF MATERIALS ซึ่งสุดท้ายแล้วเราก็จะต้องนำเอาพื้นฐานของเรื่องๆ นี้ไปต่อยอดในวิชาออกแบบต่างๆ อีกมากมายเลย เช่น … Read More

เพื่อการก่อสร้างที่มีประสิทธิภาพ ฐานรากที่มั่นคง ถูกต้องตามหลักวิศวกรรม ภูมิสยาม เราขอแนะนำเลือกใช้ เสาเข็มไอไมโครไพล์ I-Micropile 

เพื่อการก่อสร้างที่มีประสิทธิภาพ ฐานรากที่มั่นคง ถูกต้องตามหลักวิศวกรรม ภูมิสยาม เราขอแนะนำเลือกใช้ เสาเข็มไอไมโครไพล์ I-Micropile  ในทุกการก่อสร้าง ไม่ว่าจะต่อเติม หรือสร้างใหม่ “เสาเข็ม” คือส่วนหนึ่งของโครงสร้างที่มีความสำคัญเป็นอย่างมาก ที่เราควรจะต้องคำนึงถึงความมั่นคงแข็งแรง เพราะจะส่งผลต่อโครงสร้างทั้งหมดในระยะยาว โดยหน้าที่หลักของเสาเข็มคือเป็นตัวกลางในการถ่ายเทน้ำหนักลงสู่ชั้นดิน โดยใช้แรงพยุงที่เกิดจากแรงเสียดทานของดิน กับพื้นที่รอบเสาเข็ม เพื่อไม่ให้โครงสร้างบนดินเกิดการทรุดตัว และการเลือกใช้เสาเข็มก็เป็นสิ่งที่สำคัญ โดยเสาเข็มไอไมโครไพล์ … Read More

ภูมิสยามฯ ทุ่มงบกว่า 100 ล้านบาท ผุดโรงงาน – ข่าวผู้จัดการออนไลน์

posted in: All-Post, Bhumisiam News

ข่าวประชาสัมพันธ์ ภูมิสยามฯ ทุ่มงบกว่า 100 ล้านบาท ผุดโรงงานผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) คุณภาพอันดับ 1 ในเมืองไทย ชูนวัตกรรมการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน ภูมิสยามฯ ผู้ผลิตและจัดจำหน่าย พร้อมบริการตอก … Read More

ต่อเติมบ้าน ด้วยเสาเข็มไอไมโครไพล์ I-Micropile 

ต่อเติมบ้าน ด้วยเสาเข็มไอไมโครไพล์ I-Micropile  การต่อเติมบ้าน ถือเป็นเรื่องที่ควรใส่ใจเป็นพิเศษ เพราะบ้านเป็นที่อยู่อาศัยที่จะอยู่กับเราไปอีกนาน ภูมิสยามเราขอแนะนำ เสาเข็มไอไมโครไพล์ เป็นเสาเข็มที่มีลักษณะรูปตัวไอ นิยมใช้ในงานต่อเติมบ้าน ทำหน้าที่ในการรองรับน้ำหนักของสิ่งปลูกสร้าง และส่วนต่อเติมเพื่อถ่ายเทลงสู่ชั้นดิน ทำให้เกิดการกระจายน้ำหนักที่เท่ากัน เพื่อป้องกันการทรุดตัวของส่วนต่อเติมที่อาจจะไปดึงรั้งตัวโครงสร้างบ้านเดิมทำให้เกิดความเสียหายได้ และภูมิสยามเรามีวิศวกรผู้เชี่ยวชาญ ที่คอยให้คำปรึกษา ตลอดจนทีมช่างที่มีประสบการณ์พร้อมให้บริการโดยปฏิบัติงานตามทุกขั้นตอนให้ได้มาตรฐานและความมั่นคงแข็งแรงสูงสุด อีกทั้งเสาเข็มไอไมโครไพล์ ยังมีข้อดีในเรื่องของการเคลื่อนย้ายเข้าหน้างานได้อย่างสะดวก และปั้นจั่นที่ใช้ถูกออกแบบมาเป็นพิเศษ … Read More

วิศวกรโครงสร้าง หรือ STRUCTURAL ENGINEER ประเภท OLD SCHOOL

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ สืบเนื่องมาจากการที่มีรุ่นน้องวิศวกรท่านหนึ่งเค้าคงจะทราบมาว่าตัวผมนั้นเป็นสามัญวิศวกรโยธาที่ทำงานทางด้านการออกแบบและการเสริมกำลังให้แก่โครงสร้างมาก็ไม่น้อย เค้าจึงได้ฝากคำถามสั้นๆ แต่ได้ใจความเข้ามาคำถามหนึ่งในทำนองว่า อยากให้ผมให้ข้อแนะนำเกี่ยวกับเทคนิคการใช้งานซอฟต์แวร์ที่มีกระบวนการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยไฟไนต์อีลีเม้นต์ หรือ FINITE ELEMENT ANALYSIS หรือเขียนสั้นๆ ว่า … Read More

ค่าระยะเยื้องศูนย์มากที่สุด ที่จะไม่ทำให้ที่บริเวณขอบนอกสุดใต้ฐานรากแบบตื้น เกิดหน่วยแรงเค้นดึง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ วันนี้ผมจะมาขออนุญาตมาตอบคำถามให้แก่น้องวิศวกรที่เพิ่งจบใหม่ท่านหนึ่ง ซึ่งจริงๆ แล้วน้องท่านนี้ก็อายุน้อยกว่าผมเพียงไม่กี่ปีแต่ผมยอมรับในตัวแกเลยเพราะแกใช้ความมานะอุตสาหะตั้งใจเรียนจนจบในสาขาวิศวกรรมศาสตร์ระดับปริญญาตรีตอนอายุ 30 กว่าๆ ได้ ผมขอแสดงความยินดีกับแกด้วยก็แล้วกันและขออำนวยพรให้แกมีความเจริญก้าวหน้าในหน้าที่การงานสืบไปนะครับ ทีนี้สิ่งที่แกนำเอาปรึกษากับผมนั้นต้องย้อนกลับไปตอนที่แกกำลังเตรียมตัวสอบใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมอยู่ ซึ่งแกเคยไปอ่านเจอคำถามข้อหนึ่งเกี่ยวกับเรื่องการออกแบบฐานรากแบบตื้นหรือ SHALLOW … Read More

1 2 3 4 20