บทความการตอกเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile ไมโครไพล์ Micropile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ หรือเข็มไอ I-Micropile เสาเข็มเพื่อการต่อเติม เสริมฐานราก และงานสร้างใหม่ ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐาน ISO 9001:2015 ภายใต้การรับรองระบบงานของ UKAS และ NAC และมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม (The Provision of Pile Driving Service)

ต้องการเสาเข็มเพื่อสร้างบ้าน หรืออาคารใหม่ แนะนำเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)โดยภูมิสยามค่ะ!!

posted in: PILE DRIVING

เสาเข็มเป็นสิ่งสำคัญ ในการสร้างใหม่ เพื่อเป็นฐานรากในการรองรับน้ำหนักโครงสร้าง และเพื่อป้องกันการทรุดตัวที่อาจจะเกิดขึ้น การเลือกใช้เสาเข็มก็มีความสำคัญ เราขอแนะนำเสาเข็มสปันไมโครไพล์ โดยภูมิสยาม เป็นเสาเข็มที่เหมาะกับทุกงานก่อสร้าง ไม่ว่าจะต่อเติมหรือสร้างใหม่ เพราะเป็นเสาเข็มที่มีขนาดเล็ก แต่มีความสามารถในการรับน้ำหนักที่สูง เสาเข็มแต่ละท่อนสามารถเชื่อมต่อติดกันได้โดยการเชื่อม และใช้ปั้นจั่นที่ถูกออกมาเป็นพิเศษ ทำให้สามารถตอกเสาเข็มได้ลึกถึงชั้นดินทรายแข็ง ทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic Load Test เสาเข็มได้รับอนุญาตแสดงเครื่องหมายมาตรฐานการออกแบบการผลิตและตอก ISO … Read More

วิศวกรรมการคำนวณ – การออกแบบการสั่น อันเนื่องมาจากเครื่องจักร ครั้งที่2

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ตามที่ผมได้รับปากกับเพื่อนๆ เอาไว้เมื่อสัปดาห์ก่อนว่าในวันนี้ผมจะขออนุญาตนำเอาเรื่องราวรายละเอียดต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่องการออกแบบการสั่นอันเนื่องมาจากเครื่องจักรเอามามาพูดถึงและอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ให้มีความรู้และความเข้าใจที่มากยิ่งขึ้นและหากจะว่ากันด้วยเรื่องรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกันกับเรื่องๆ นี้แล้วเนื้อหาทั้งหมดของมันนั้นมีอยู่ด้วยกันค่อนข้างที่จะเยอะมากเลยทีเดียว ดังนั้นเพื่อให้การโพสต์ตลอดก่อนที่จะถึงช่วงปีใหม่นั้นมีความกระชับและได้ประโยชน์สูงสุดผมจึงจะขออนุญาตเลือกหัวข้อที่มีความสำคัญมาก 2 ประเด็นมาพูดถึงนั่นก็คือ 1. รูปแบบของการสั่นสะเทือนและวิธีในการทำการตรวจวัดการสั่นสะเทือนของเครื่องจักร 2. รูปแบบและวิธีแก้ไขการสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากเครื่องจักร เมื่อในสัปดาห์ที่แล้วผมได้พูดถึงหัวข้อที่ 1 เรื่องรูปแบบของการสั่นสะเทือนและวิธีในการทำการตรวจวัดการสั่นสะเทือนของเครื่องจักร และในสัปดาห์นี้ซึ่งก็คือวันศุกร์ที่ 25 ก็จะถือได้ว่าเป็นวันศุกร์สุดท้ายของปี … Read More

ภูมิสยาม – เทคโนโลยีการผลิตด้วยระบคอมพิวเตอร์

เทคโนโลยีการผลิตด้วยระบคอมพิวเตอร์ โปรแกรมผสมคอนกรีตเดียวกันกับ SCG-CPAC มาตรฐาน Concrete Mix Design โดย SCG การชั้งตวง ซีเมนต์ หิน ทราย น้ำ ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ โปรแกรมผสมคอนกรีตเดียวกันกับ SCG-CPAC มาตรฐาน Concrete Mix … Read More

การทดสอบการรับน้ำหนัก ของเสาเข็ม ด้วยวิธีพลศาสตร์ (DYNAMIC LOAD TEST)

การทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีพลศาสตร์ (Dynamic Load Test) เป็นที่ยอมรับทั่วไปและมีมาตรฐานรองรับ ได้แก่ ASTM D4945-96 นอกจากนั้น การทดสอบดังกล่าวมีข้อดีหลายประการ เช่น สามารถทำการทดสอบได้ภายในระยะเวลาสั้น ๆ เสาเข็มหลายต้นสามารถทําการทดสอบได้ในวันเดียว ต้องการพื้นที่รอบๆ เสาเข็มไม่มากนักในการเตรียมการทดสอบ ผลการทดสอบให้ข้อมูลที่เพียงพอเกี่ยวกับเสาเข็มในเรื่องของกําลังรับน้ําหนักและความสมบูรณ์ของเสาเข็ม เป็นการทดสอบที่ประหยัดค่าใช้จ่าย อุปกรณ์วัดสัญญาณ จะวัดสัญญาณและแสดงผลในรูปแบบของการเปลี่ยนแปลงแรงเทียบกับเวลาและการเปลี่ยนแปลงความเร็วเทียบกับเวลา โดยอุปกรณ์หลักจะประกอบไปด้วยหัววัดสัญญาณ … Read More

ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ปัญหาการคำนวณหาค่าหน่วยแรงแบกทานที่ยอมให้ของดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ ผมขอทำการสมมติว่า เพื่อนๆ ต้องทำหน้าที่เป็นผู้ออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างในโครงการก่อสร้างแห่งหนึ่ง โดยที่ผมขอทำการตั้งสมมติฐานในการออกแบบฐานรากแบบแผ่หรือ BEARING FOUNDATION … Read More

สร้างอาคารใหม่ เราขอแนะนำเสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spunmicropile และเสาเข็ม ไอไมโครไพล์ I-Micropile เพื่อรับน้ำหนักโครงสร้างใหม่ ที่ได้มาตรฐานสูง

สร้างอาคารใหม่ เราขอแนะนำเสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spunmicropile และเสาเข็ม ไอไมโครไพล์ I-Micropile เพื่อรับน้ำหนักโครงสร้างใหม่ ที่ได้มาตรฐานสูง สร้างใหม่ต้องตอกเสาเข็ม เพื่อเพิ่มความสามารถในการรับน้ำหนักของฐานราก เพราะฐานรากเป็นตัวรับน้ำหนักโครงสร้างทั้งหมด และการตอกเสาเข็มจะต้องตอกให้ลึกถึงชั้นดินดาน ตามที่วิศวกรออกแบบ เพื่อให้การรับน้ำหนัก เป็นไปอย่างถูกต้องตามหลักวิศวกรรม หากตอกเสาเข็มสั้นเกินไป ไม่ถึงชั้นดินดาน จะทำให้ดินเกิดการทรุดตัวมากเกินไป และเป็นผลให้เสาเข็มทรุดตัวตามไปด้วย ไม่สามารถรับน้ำหนักได้ตามที่ต้องการ … Read More

เมื่อตอกเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็ก ลงไปในดิน จะมีปัญหาเรื่องการเกิดสนิมหรือไม่

เมื่อตอกเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็ก ลงไปในดิน จะมีปัญหาเรื่องการเกิดสนิมหรือไม่ สนิมเหล็ก คือสารประกอบระหว่างเหล็กกับออกซิเจน มีชื่อทางเคมีคือ ไฮเดรตเฟอริกออกไซด์ (Fe2O3.XH2O3) ลักษณะเป็นคราบสีแดง ซึ่งไม่สามารถเกาะอยู่บนผิวของเหล็กได้อย่างเหนียวแน่น สามารถหลุดออกไปได้ง่าย ทำให้เนื้อเหล็กที่อยู่ชั้นในสามารถเกิดสนิมต่อไปจนกระทั่งหมดทั้งชิ้น กระบวนการเกิดสนิมเหล็กค่อนข้างซับซ้อน โดยมีปัจจัยหลักก็คือ น้ำและออกซิเจน วิธีการป้องกันเหล็กไม่ให้เกิดสนิมมีอยู่หลายวิธี เช่น การเคลือบผิวเหล็ก เพื่อป้องกันมิให้เนื้อเหล็กสัมผัสกับน้ำและอากาศโดยตรง อาจทำได้หลายวิธี … Read More

ประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง โครงสร้างหลังคายื่น หรือ CANOPY ROOF STRUCTURE

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ หลังจากที่ในหลายๆ สัปดาห์ที่ผ่านมานั้นผมได้นำเอาความรู้ที่มีความเกี่ยวข้องกับเรื่องราวต่างๆ เกี่ยวกับโครงสร้างประเภท โครงสร้างหลังคายื่น หรือ CANOPY ROOF STRUCTURE เอามาฝากเพื่อนๆ ไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ดังนั้นในวันนี้ผมจึงอยากจะขอทำการหยิบยกตัวอย่างข้อมูลตามที่ผมเคยได้ให้คำอธิบายไปแล้วก่อนหน้านี้มาให้เพื่อนๆ ได้รับชมกันบ้าง … Read More

“ถาม-ตอบชวนสนุก” ปัญหาการคำนวณค่าแรงอัดวิกฤติของออยเลอร์ของชิ้นส่วนโครงสร้างที่ต้องทำหน้าที่ในการรับแรงอัด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ ในรูปๆ นี้เพื่อนๆ จะเห็นได้ว่าเป็นรูปแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของชิ้นส่วนโครงสร้างที่ต้องทำหน้าที่ในการรับแรงอัดโครงสร้างหนึ่ง ซึ่งที่ปลายด้านล่างและด้านบนนั้นจะมีลักษณะของจุดต่อเป็นแบบยึดหมุนหรือ PINNED SUPPORT ทั้งคู่เลย … Read More

1 2 3 4 5 6 7 8 20