วิธีพิจารณาระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็ม FOUNDATION

วิธีพิจารณาระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็ม ก่อนอื่นจะต้องทราบก่อนว่า กำลังออกแบบให้โครงสร้างฐานรากของเรานั้นมีสมมติฐานเป็นแบบใดระหว่าง “ฐานรากที่มีความอ่อนตัว FLEXIBLE FOUNDATION” หรือว่าเป็น “ฐานรากที่มีความแข็งตัว RIGID FOUNDATION” พอทราบสมมติฐานข้างต้นแล้ว ก็จะมีเกณฑ์ในเรื่องของการคำนวณหาระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มมากที่สุด หากว่าโครงสร้างฐานรากนั้นเป็นฐานรากที่มีความอ่อนตัว สำหรับกรณีนี้จะไม่มีข้อจำกัดเรื่องระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มมากที่สุด เพราะโครงสร้างฐานรากก็จะต้องเกิดการเสียรูปได้อยู่แล้ว ดังนั้นจึงไม่มีความจำที่จะต้องทำการคำนึงถึงเรื่องระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มมากที่สุด หากว่าโครงสร้างฐานรากนั้นเป็นฐานรากที่มีความแข็งตัว สำหรับกรณีนี้จะต้องพิจารณาเรื่องข้อจำกัดในเรื่องระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มมากที่สุด เพราะว่าเวลาออกแบบโครงสร้างฐานรากโดยอาศัยสมมติฐานนี้นั่น ก็เท่ากับว่ากำลังอาศัยทฤษฎีของแผ่นเปลือกหนาหรือ … Read More

สร้างใหม่ สามารถเลือกใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ ขนาดเล็ก ได้หรือไม่?? ภูมิสยามมีคำตอบ!!

สร้างใหม่ สามารถเลือกใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ ขนาดเล็ก ได้หรือไม่?? ภูมิสยามมีคำตอบ!! เสาเข็มสปันไมโครไพล์ เป็นเสาเข็มขนาดเล็ก ที่เหมาะสำหรับการตอกเพื่อรับน้ำหนัก ถูกออกแบบมาเพื่อเป็นฐานรากที่ต้องการความมั่นคงแข็งแรง และด้วยเสาเข็มที่มีลักษณะกลวง โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อ ลดแรงสั่นสะเทือนขณะตอก ภายในของเสาเข็มมีโครงเหล็กฝังอยู่ในเนื้อคอนกรีตโดยรอบทำให้เสาเข็มมีความแข็งแรงสูง ขนาดของเสาเข็มมีความยาวเพียง 1.5 เมตร เพื่อความสะดวกในการเข้าถึงพื้นที่หน้างาน และปั้นจั่นที่ใช้ตอกถูกออกแบบมาเป็นพิเศษ ให้มีขนาดพอดีสำหรับตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์โดยเฉพาะ โดยการตอกเสาเข็มจะตอกต่อกันทีละท่อน … Read More

ชนิด และ ประเภทของเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ Spunmicropile

ชนิด และ ประเภทของเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ Spunmicropile เสาเข็มมีมากมายหลายชนิด และหลายประเภทตามรูปแบบการก่อสร้าง โดยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (SPUN MICRO PILE) ของทางภูมิสยามถูกจำแนกให้อยู่ในประเภท เสาเข็มตอก (DRIVEN PILE) คือ การใช้ปั้นจั่นทำการตอกเสาเข็มลงไปในดินจนได้ความลึกตามที่ต้องการ วิธีการนี้เป็นวิธีการที่ได้รับความนิยมมากที่สุด เนื่องจากวิธีการก่อสร้างไม่ซับซ้อน … Read More

สร้างใหม่ เลือกใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile เสาเข็มมาตรฐาน มอก.

สร้างใหม่ เลือกใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile เสาเข็มมาตรฐาน มอก. เสาเข็มสปันไมโครไพล์ เป็นเสาเข็มที่ตอบโจทย์การก่อสร้างมากที่สุด ไม่ว่าจะต่อเติม หรือสร้างใหม่ โดยภายในของเสาเข็มมีโครงเหล็กฝังอยู่ในเนื้อคอนกรีตโดยรอบ และมีเนื้อคอนกรีตที่หนาแน่นจากนวัตกรรมการผลิตโดยในแรงเหวี่ยงในแบบหล่อ มีความสามารถในการรับน้ำหนักได้ตามที่วิศวกรออกแบบ ถึง15-50 ตัน/ต้น (ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่) และยังมีข้อดีในเรื่องลดแรงสั่นสะเทือนขณะตอก และความสะดวกในการเข้าตอกในพื้นที่หน้างาน โดยทางภูมิสยามมีวิศวกรควบคุมดูแลการผลิตให้คำปรึกษา ตลอดจนทีมช่างตอกเสาเข็มที่มีประสบการณ์สูงพร้อมให้บริการ … Read More

ประเภทของฐานราก ทั้งฐานรากชนิดตื้นและชนิดลึก

ประเภทของฐานราก ทั้งฐานรากชนิดตื้นและชนิดลึก มีลักษณะของการก่อสร้างและความสามารถในการรับน้ำหนักที่แตกต่างกัน แบ่งได้ดังนี้ -ฐานแผ่เดี่ยว (Spread Footing) หมายถึงฐานรากที่รับน้ำหนักจากเสาอาคาร เพียงต้นเดียว แล้วถ่ายน้ำหนักลงสู่พื้นดิน ความหนาของตัวฐานต้องสามารถต้านทานโมเมนต์ดัดและแรงเฉือนได้อย่างเพียงพอ และสามารถป้องกันการกัดกร่อนตัวเหล็กเสริมเนื่องจากความชื้น ในบางกรณีที่เสาอาคารไม่วางอยู่บนศูนย์กลางฐานราก เช่นอยู่ติดเขตที่ดินอาจถูกออกแบบให้เสาวางอยู่ด้านใดด้านหนึ่งของฐานราก เราเรียกว่าฐานรากแบบนี้ว่า ฐานรากตีนเป็ด -ฐานต่อเนื่องรับกำแพง (Continuous Footing) หมายถึงฐานรากที่ทำหน้าที่รองรับน้ำหนักจากผนังก่ออิฐ … Read More

เสริมฐานรากภายในอาคาร เพื่อการรับน้ำหนักที่มั่นคงแข็งแรง เลือกใช้เสาเข็มไอไมโครไพล์ I-Micropile ภูมิสยาม

เสริมฐานรากภายในอาคาร เพื่อการรับน้ำหนักที่มั่นคงแข็งแรง เลือกใช้เสาเข็มไอไมโครไพล์ I-Micropile ภูมิสยาม เสาเข็มไอไมโครไพล์ เป็นเสาเข็มขนาดเล็ก รูปตัวไอ เป็นเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ สามารถใช้ตอกเพื่อเสริมฐานรากที่ต้องการความมั่นคงแข็งแรงในการรับน้ำหนักอาคารขนาดใหญ่ได้ โดยการตอกเสาเข็มชนิดนี้ จะใช้ปั้นจั่นที่ถูกออกแบบมาเป็นพิเศษ สำหรับตอกเสาเข็มชนิดนี้ โดยเสาเข็มไอไมโครไพล์ สามารถตอกต่อกันได้โดยการเชื่อมด้วยไฟฟ้า และตอกต่อกันด้วยปั้นจั่นจนลึกถึงชั้นดินทรายแข็ง และภูมิสยาม มีการกำกับดูแลงานโดยวิศวกร และทีมช่างตอกที่มีที่มีประสบการณ์ เพื่อ … Read More

การรับน้ำหนักบรรทุกของ ฐานรากแบบเสาเข็ม (Pile Foundation)

การรับน้ำหนักบรรทุกของ ฐานรากแบบเสาเข็ม (Pile Foundation) การวิบัติของเสาเข็ม การวิบัติของเสาเข็ม จะเกิดขึ้นได้เมื่อรับน้ำหนักบรรทุกเกินผลรวมของกำลังรับน้ำหนักบรรทุกที่ปลาย กับกำลังรับน้ำหนักบรรทุกที่ผิวของเสาเข็ม แต่ในความเป็นจริงแล้ว แรงต้านจะเกิดขึ้นเมื่อเสาเข็มถูกกระทำจนเกิดการเคลื่อนที่ แรงต้านที่ผิวจะเกิดเมื่อเสาเข็มเคลื่อนตัว 5-10 มม. แต่แรงต้านที่ปลายต้องการการเคลื่อนที่ที่สูงกว่ามาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากเป็นเสาเข็มเจาะ อาจสูงถึงร้อยละสิบของขนาดเสาเข็ม ดังนั้น ในการออกแบบจึงมักประมาณกำลังรับน้ำหนักบรรทุกของเสาเข็มจากแรงเสียดทานเท่านั้น ยกเว้นในกรณีที่ตัวเสาเข็มอยู่ในชั้นดินอ่อนและปลายอยู่ในชั้นดินแข็งอย่างชัดเจนจึงนำกำลังรับน้ำหนักบรรทุกที่ปลายมาคำนวณด้วย กำลังรับน้ำหนักบรรทุกของเสาเข็มตอก (Driven … Read More

เลือกใช้เสาเข็มแบบไหนดี?? ในงานสร้างใหม่ ภูมิสยามมีคำตอบ!!

เลือกใช้เสาเข็มแบบไหนดี?? ในงานสร้างใหม่ ภูมิสยามมีคำตอบ!! ภูมิสยาม พร้อมด้วยทีมงานที่มีประสบการณ์ และเชี่ยวชาญในด้านการตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์มาอย่างยาวนาน ทำให้มั่นใจได้ว่าสามารถเลือกใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ในงานสร้างใหม่ได้ และถึงแม้เสาเข็มจะมีขนาดเล็ก แต่ก็มีความมั่นคงแข็งแรงสูง จากการผลิตเสาเข็มด้วยนวัตกรรมแบบใหม่ โดยใช้แรงเหวี่ยงในแบบหล่อที่แข็งแรง ด้วยเครื่องจักรที่ทันสมัย ซึ่งหมุนด้วยความเร็วสูงทำให้เนื้อคอนกรีตมีความหนาแน่นสูงกว่าเสาเข็มคอนกรีตที่หล่อด้วยวิธีธรรมดา และมีคุณสมบัติที่ดีในเรื่องของการรับน้ำหนักได้ทันทีเมื่อติดตั้งแล้วเสร็จ มีการกำกับดูแลงานโดยวิศวกรมืออาชีพ เสาเข็มของภูมิสยามได้รับ มาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 … Read More

ตอกเสาเข็มปรับปรุงโครงสร้างภายในอาคาร ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ ภูมิสยาม เสาเข็มคุณภาพ มาตรฐาน มอก.

ตอกเสาเข็มปรับปรุงโครงสร้างภายในอาคาร ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ ภูมิสยาม เสาเข็มคุณภาพ มาตรฐาน มอก. เพื่อโครงสร้างฐานรากที่มั่นคง เลือกใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ เสาเข็มขนาดเล็ก ที่มีความมั่นคงแข็งแรงสูง เป็นเสาเข็มที่ใช้นวัตกรรมแบบใหม่ในการผลิต โดยใช้แรงเหวี่ยง (สปัน=กรอ,หมุน,ปั่น,เหวี่ยง) ในแบบหล่อที่แข็งแรง ทำให้เนื้อคอนกรีตมีความหนาแน่น และแข็งแรงกว่าเสาเข็มคอนกรีตที่หล่อด้วยวิธีธรรมดา และมีข้อดีในเรื่องของแรงสั่นสะเทือนขณะติดตั้งน้อย ตอบโจทย์การตอกเสาเข็มเพื่อปรับปรุงโครงสร้างฐานรากภายในอาคาร เนื่องจากอาคารส่วนใหญ่ที่ต้องเสริมฐานรากนั้น มักจะมีปัญหาความบกพร่องของฐานรากอยู่ก่อนแล้ว … Read More

“ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” การทดสอบความสมบูรณ์ของโครงสร้างเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ ตามที่ผมได้รับปากกับเพื่อนๆ เอาไว้ในสัปดาห์ที่แล้วว่าในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาขยายความเกี่ยวกับเรื่องข้อมูลที่เราจะสามารถตรวจพบและไม่สามารถที่จะตรวจพบได้จากการทำการทดสอบความสมบูรณ์ของโครงสร้างเสาเข็มโดยวิธีการใส่แรงกระแทกเข้าไปที่ส่วนบนของโครงสร้างเสาเข็ม ซึ่งโพสต์นี้ก็น่าที่จะเป็นโพสต์สุดท้ายเกี่ยวกับการแชร์ความรู้ในการโพสต์รอบนี้แล้วนะครับ ก่อนที่จะเริ่มในเนื้อหาในส่วนนี้ผมอยากจะขอฝากไว้นิสนึงตรงนี้ว่า หลังจากที่ในครั้งที่แล้วที่ผมได้ทำการอธิบายให้เพื่อนๆ ได้ทราบถึงข้อดีและข้อจำกัดของวิธีในการทดสอบความสมบูรณ์ของโครงสร้างเสาเข็มโดยวิธีการใส่แรงกระแทกเข้าไปที่ส่วนบนของโครงสร้างเสาเข็มไปเป็นที่เรียบร้อยแล้วเพื่อนๆ ก็น่าจะเห็นได้ว่าจริงๆ แล้วข้อจำกัดของวิธีการทดสอบนี้ก็มีอยู่ค่อนข้างมาก ดังนั้นหากจะเลือกนำเอาวิธีการดังกล่าวนี้มาใช้ในการทดสอบโครงสร้างเสาเข็มผมก็ขอให้คำแนะนำว่า เพื่อนๆ … Read More

1 3 4 5 6 7 8 9 20