บทความการตอกเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile ไมโครไพล์ Micropile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ หรือเข็มไอ I-Micropile เสาเข็มเพื่อการต่อเติม เสริมฐานราก และงานสร้างใหม่ ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐาน ISO 9001:2015 ภายใต้การรับรองระบบงานของ UKAS และ NAC และมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม (The Provision of Pile Driving Service)

เสริมฐานรากภายในอาคาร เพื่อการรับน้ำหนักที่มั่นคงแข็งแรง เลือกใช้เสาเข็มไอไมโครไพล์ I-Micropile ภูมิสยาม

เสริมฐานรากภายในอาคาร เพื่อการรับน้ำหนักที่มั่นคงแข็งแรง เลือกใช้เสาเข็มไอไมโครไพล์ I-Micropile ภูมิสยาม เสาเข็มไอไมโครไพล์ เป็นเสาเข็มขนาดเล็ก รูปตัวไอ เป็นเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ สามารถใช้ตอกเพื่อเสริมฐานรากที่ต้องการความมั่นคงแข็งแรงในการรับน้ำหนักอาคารขนาดใหญ่ได้ โดยการตอกเสาเข็มชนิดนี้ จะใช้ปั้นจั่นที่ถูกออกแบบมาเป็นพิเศษ สำหรับตอกเสาเข็มชนิดนี้ โดยเสาเข็มไอไมโครไพล์ สามารถตอกต่อกันได้โดยการเชื่อมด้วยไฟฟ้า และตอกต่อกันด้วยปั้นจั่นจนลึกถึงชั้นดินทรายแข็ง และภูมิสยาม มีการกำกับดูแลงานโดยวิศวกร และทีมช่างตอกที่มีที่มีประสบการณ์ เพื่อ … Read More

ปัญหาค่าความกว้างน้อยที่สุด ที่ไม่ทำให้ที่บริเวณขอบนอกสุดใต้ฐานรากแบบตื้น เกิดหน่วยแรงเค้นดึงขึ้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ ผมขอทำการสมมติว่า ผมกำลังดำเนินการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างให้แก่ โครงสร้างฐานรากแบบตื้น หรือ SHALLOW FOUNDATION … Read More

เสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile ภูมิสยาม ตอกเป็นฐานราก สำหรับโครงสร้างอาคารใหม่ เพื่อการรับน้ำหนักที่ปลอดภัย

เสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile ภูมิสยาม ตอกเป็นฐานราก สำหรับโครงสร้างอาคารใหม่ เพื่อการรับน้ำหนักที่ปลอดภัย หากกำลังมองหาเสาเข็ม สำหรับสร้างใหม่ เราขอแนะนำ เสาเข็มไอไมโครไพล์ ของภูมิสยาม เป็นเสาเข็มรูปตัวไอ เหมาะสำหรับใช้เป็นฐานราก ไม่ว่าจะต่อเติม หรือใช้เป็นฐานราก สำหรับโครงสร้างอาคารใหม่ โดยเสาเข็มจะรับน้ำหนักจากโครงสร้างทั้งหมด และถ่ายเทลงสู่ชั้นดิน ดังนั้นการตอกเสาเข็มจึงมีความจำเป็นที่จะต้องตอกให้ลึกถึงชั้นดินทรายแข็ง … Read More

ต่อเติมโรงงาน ด้วยเสาเข็มสี่เหลี่ยมแรงเหวี่ยง (SQUARE SPUN MICRO PILE)!!

posted in: PILE DRIVING

ต่อเติมโรงงานหรือเสริมรากฐานเพิ่ม เพื่อป้องกันการทรุดตัว ต้องการเสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน แนะนำเข็มที่ภูมิสยามเป็นผู้ผลิตค่ะ!! จะต่อเติมโรงงาน เลือกใช้เสาเข็มไมโครไพล์ เป็นเสาเข็มที่ป้องกันการทรุดตัวได้อย่างตรงจุด เสาเข็มสามารถเพิ่มความลึกได้ตามต้องการ เพราะเชื่อมต่อแต่ละท่อนได้โดยการเชื่อมด้วยไฟฟ้ารอบเสาเข็ม ใช้วิธีการตอกเสาเข็มชนิดนี้ด้วยปั้นจั่นแบบพิเศษ ทำให้สามารถตอกต่อกันได้ลึกถึงชั้นดินทรายแข็ง หมดกังวลเรื่องปัญหาการทรุดตัว และยังสามารถตอกได้ในที่แคบและที่ชิดกำแพงได้ 50 ซม. จากเซ็นเตอร์เสาเข็ม เพราะมีคุณสมบัติที่ดีในเรื่องของแรงสั่นสะเทือนน้อย ไม่ส่งผลกระทบต่อโครงสร้างเดิม เสาเข็มชนิดนี้จึงเหมากับงานต่อเติมโรงงาน ที่ต้องการฐานรากที่มั่นคงป้องการการทรุดตัว … Read More

วิศวกรรมการคำนวณ – การออกแบบการสั่น อันเนื่องมาจากเครื่องจักร ครั้งที่2

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ตามที่ผมได้รับปากกับเพื่อนๆ เอาไว้เมื่อสัปดาห์ก่อนว่าในวันนี้ผมจะขออนุญาตนำเอาเรื่องราวรายละเอียดต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่องการออกแบบการสั่นอันเนื่องมาจากเครื่องจักรเอามามาพูดถึงและอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ให้มีความรู้และความเข้าใจที่มากยิ่งขึ้นและหากจะว่ากันด้วยเรื่องรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกันกับเรื่องๆ นี้แล้วเนื้อหาทั้งหมดของมันนั้นมีอยู่ด้วยกันค่อนข้างที่จะเยอะมากเลยทีเดียว ดังนั้นเพื่อให้การโพสต์ตลอดก่อนที่จะถึงช่วงปีใหม่นั้นมีความกระชับและได้ประโยชน์สูงสุดผมจึงจะขออนุญาตเลือกหัวข้อที่มีความสำคัญมาก 2 ประเด็นมาพูดถึงนั่นก็คือ 1. รูปแบบของการสั่นสะเทือนและวิธีในการทำการตรวจวัดการสั่นสะเทือนของเครื่องจักร 2. รูปแบบและวิธีแก้ไขการสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากเครื่องจักร เมื่อในสัปดาห์ที่แล้วผมได้พูดถึงหัวข้อที่ 1 เรื่องรูปแบบของการสั่นสะเทือนและวิธีในการทำการตรวจวัดการสั่นสะเทือนของเครื่องจักร และในสัปดาห์นี้ซึ่งก็คือวันศุกร์ที่ 25 ก็จะถือได้ว่าเป็นวันศุกร์สุดท้ายของปี … Read More

ตอกเสาเข็มบนเกาะช้าง!!! ด้วยเสาเข็มไมโครไพล์

posted in: PILE DRIVING

เสาเข็มไมโครไพล์ หรือสปันไมโครไพล์แท้ภูมิสยาม ตอบโจทย์ทุกการก่อสร้างและทุกพื้นที่ ตย.ภาพการตอก ณ รีสอร์ทแห่งหนึ่งบนเกาะช้าง ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) ผลิตจากการสปันและเป็นที่ไว้วางใจ ในการต่อเติมหรือสร้างใหม่ และตอบโจทย์งานคุณภาพ เพราะเสาเข็มและการตอกได้มาตร เป็นที่นิยมและไว้ใจในการรับน้ำหนักทุกพื้นที่ทั่วประเทศ ภูมิสยามผู้ผลิตและจัดจำหน่าย เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile เจ้าแรกที่ได้รับมาตรฐาน … Read More

วิธีพิจารณาระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็ม FOUNDATION

วิธีพิจารณาระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็ม ก่อนอื่นจะต้องทราบก่อนว่า กำลังออกแบบให้โครงสร้างฐานรากของเรานั้นมีสมมติฐานเป็นแบบใดระหว่าง “ฐานรากที่มีความอ่อนตัว FLEXIBLE FOUNDATION” หรือว่าเป็น “ฐานรากที่มีความแข็งตัว RIGID FOUNDATION” พอทราบสมมติฐานข้างต้นแล้ว ก็จะมีเกณฑ์ในเรื่องของการคำนวณหาระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มมากที่สุด หากว่าโครงสร้างฐานรากนั้นเป็นฐานรากที่มีความอ่อนตัว สำหรับกรณีนี้จะไม่มีข้อจำกัดเรื่องระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มมากที่สุด เพราะโครงสร้างฐานรากก็จะต้องเกิดการเสียรูปได้อยู่แล้ว ดังนั้นจึงไม่มีความจำที่จะต้องทำการคำนึงถึงเรื่องระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มมากที่สุด หากว่าโครงสร้างฐานรากนั้นเป็นฐานรากที่มีความแข็งตัว สำหรับกรณีนี้จะต้องพิจารณาเรื่องข้อจำกัดในเรื่องระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มมากที่สุด เพราะว่าเวลาออกแบบโครงสร้างฐานรากโดยอาศัยสมมติฐานนี้นั่น ก็เท่ากับว่ากำลังอาศัยทฤษฎีของแผ่นเปลือกหนาหรือ … Read More

สร้างใหม่ เพื่อโครงสร้างที่มั่นคง ต้องลงเสาเข็มให้ลึกถึงชั้นดินดาน ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I-Micropile ภูมิสยาม การตอกถูกต้องตามหลักวิศวกรรม

สร้างใหม่ เพื่อโครงสร้างที่มั่นคง ต้องลงเสาเข็มให้ลึกถึงชั้นดินดาน ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I-Micropile ภูมิสยาม การตอกถูกต้องตามหลักวิศวกรรม การก่อสร้างใหม่ ขั้นตอนที่สำคัญที่สุดคือการลงเสาเข็ม เพื่อสร้างความมั่นคงและความปลอดภัยของโครงสร้างในอนาคต และการที่เราจะทราบความสามารถในการรับน้ำหนักของเสาเข็ม ที่แน่นอน จะต้องทำการเจาะสำรวจดิน (SOIL BORING TEST)โดยวิศวกรผู้เชี่ยวชาญ … Read More

ความรู้ที่มีประโยชน์เพื่อคุณผู้หญิง – วิธีในการออกแบบโครงสร้างแผ่นเหล็กที่จะทำหน้าที่รองรับแรงกดสำหรับโครงสร้างเสาเหล็กรูปพรรณ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ เมื่อในสัปดาห์ที่แล้วผมได้ทำการพูดและอธิบายถึง วิธีในการออกแบบโครงสร้างแผ่นเหล็กที่จะทำหน้าที่รองรับแรงกดสำหรับโครงสร้างเสาเหล็กรูปพรรณ หรือ COLUMN BEARING PLATE ไปแล้วเป็นที่เรียบร้อย ดังนั้นในวันนี้ก็จะขออนุญาตมาทำการยกตัวอย่างถึงการออกแบบเจ้าโครงสร้างแผ่นเหล็กที่จะทำหน้าที่รองรับแรงกดสำหรับโครงสร้างเสาเหล็กรูปพรรณให้เพื่อนๆ ได้รับชมกันบ้าง ซึ่งผมก็จะขอหยิบยกและนำเอาปัญหาที่ผมได้ใช้ตั้งเป็นคำถามกับเพื่อนๆ ไปเมื่อวันเสาร์และวันอาทิตย์ที่ผ่านมา โดยที่จะมีข้อมูลเพิ่มเติมดังต่อไปนี้นะครับ … Read More

ค่าระยะเยื้องศูนย์มากที่สุด ที่จะไม่ทำให้ที่บริเวณขอบนอกสุดใต้ฐานรากแบบตื้น เกิดหน่วยแรงเค้นดึง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ วันนี้ผมจะมาขออนุญาตมาตอบคำถามให้แก่น้องวิศวกรที่เพิ่งจบใหม่ท่านหนึ่ง ซึ่งจริงๆ แล้วน้องท่านนี้ก็อายุน้อยกว่าผมเพียงไม่กี่ปีแต่ผมยอมรับในตัวแกเลยเพราะแกใช้ความมานะอุตสาหะตั้งใจเรียนจนจบในสาขาวิศวกรรมศาสตร์ระดับปริญญาตรีตอนอายุ 30 กว่าๆ ได้ ผมขอแสดงความยินดีกับแกด้วยก็แล้วกันและขออำนวยพรให้แกมีความเจริญก้าวหน้าในหน้าที่การงานสืบไปนะครับ ทีนี้สิ่งที่แกนำเอาปรึกษากับผมนั้นต้องย้อนกลับไปตอนที่แกกำลังเตรียมตัวสอบใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมอยู่ ซึ่งแกเคยไปอ่านเจอคำถามข้อหนึ่งเกี่ยวกับเรื่องการออกแบบฐานรากแบบตื้นหรือ SHALLOW … Read More

1 3 4 5 6 7 8 9 20