“ถาม-ตอบชวนสนุก” ปัญหาการคำนวณค่าแรงอัดวิกฤติของออยเลอร์ของชิ้นส่วนโครงสร้างที่ต้องทำหน้าที่ในการรับแรงอัด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ ในรูปๆ นี้เพื่อนๆ จะเห็นได้ว่าเป็นรูปแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของชิ้นส่วนโครงสร้างที่ต้องทำหน้าที่ในการรับแรงอัดโครงสร้างหนึ่ง ซึ่งที่ปลายด้านล่างและด้านบนนั้นจะมีลักษณะของจุดต่อเป็นแบบยึดหมุนหรือ PINNED SUPPORT ทั้งคู่เลย … Read More

“ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” การคำนวณหาค่าแรงอัดวิกฤติของออยเลอร์

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ ตามที่ผมได้เรียนกับเพื่อนๆ ไปว่าในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการยกตัวอย่างถึงเรื่องการคำนวณเกี่ยวกับเรื่องค่าแรงอัดวิกฤติของออยเลอร์ หรือ EULER’S CRITICAL COMPRESSION LOAD หรือ ที่พวกเรานิยมเรียกชื่อนี้ว่า Pcr ซึ่งจริงๆ แล้วหากเพื่อนๆ … Read More

ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง ความสำคัญของค่าตัวคูณเพื่อหาความยาวประสิทธิผลในโครงสร้างที่ต้องทำหน้าที่ในการรับแรงอัด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ ตามที่ผมได้เรียนเพื่อนๆ ไปเมื่อในสัปดาห์ที่แล้วว่าวันนี้ผมจะขออนุญาตมาพูดถึงเรื่อง สมการค่าแรงอัดวิกฤติของออยเลอร์ กันต่ออีกสักหนึ่งโพสต์เพราะจริงๆ แล้วเรื่องนี้เป็นเรื่องหนึ่งที่มีความสำคัญมากเกี่ยวกับวิชากลศาสตร์ของวัสดุหรือ MECHANICS OF MATERIALS ซึ่งสุดท้ายแล้วเราก็จะต้องนำเอาพื้นฐานของเรื่องๆ นี้ไปต่อยอดในวิชาออกแบบต่างๆ อีกมากมายเลย เช่น … Read More

โครงสร้างที่ต้องทำหน้าที่ในการรับแรงอัด หรือ COMPRESSION ELEMENT ในวิชากลศาสตร์ของวัสดุหรือ MECHANICS OF MATERIALS

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ วันนี้ผมจะมาทำการอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ทุกๆ คนได้ทราบและเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องๆ หนึ่งที่ถือได้ว่าเป็นคำถามยอดฮิตเวลาที่ผมต้องสอนเกี่ยวกับ โครงสร้างที่ต้องทำหน้าที่ในการรับแรงอัด หรือ COMPRESSION ELEMENT ในวิชากลศาสตร์ของวัสดุหรือ MECHANICS OF MATERIALS … Read More

ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม วิธีในการปฎิบัติงานเหล็กเสริมหลักและเหล็กเสริมรองภายในฐานรากที่ดี

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ เนื่องจากเมื่อประมาณสองถึงสามสัปดาห์ที่ผ่านมานั้นได้มีแฟนเพจของเราท่านหนึ่งได้ให้ความกรุณาสอบถามเข้ามาผ่านทางช่องทางอินบ็อกซ์ของทางเพจในทำนองว่า “ผมขอสอบถามหน่อยนะครับว่า ตามปกติแล้วเวลาที่เราจะทำการวางเหล็กเสริมหลักหรือเหล็กเสริมรองให้ลงไปอยู่ในโครงสร้างฐานราก เราจะต้องทำการกำหนดให้เหล็กเสริมดังกล่าวนี้วางตัวอยู่บนลูกปูน ดังนั้นหากจะว่ากันตามหลักการที่ถูกต้องทางด้านงานวิศวกรรมแล้ว ไม่ทราบว่าเราสามารถที่จะทำการกำหนดให้เหล็กเสริมหลักหรือเหล็กเสริมรองที่วางตัวอยู่ในโครงสร้างฐานรากนี้ให้การวางตัวอยู่ที่ด้านบนของโครงสร้างเสาเข็มโดยตรงโดยที่ไม่ต้องมีลูกปูนมาคั่นกลาง ได้ หรือ ไม่ ครับ?” … Read More

ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ปัญหาการคำนวณหาค่าหน่วยแรงแบกทานที่ยอมให้ของดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ ผมขอทำการสมมติว่า เพื่อนๆ ต้องทำหน้าที่เป็นผู้ออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างในโครงการก่อสร้างแห่งหนึ่ง โดยที่ผมขอทำการตั้งสมมติฐานในการออกแบบฐานรากแบบแผ่หรือ BEARING FOUNDATION … Read More

เทคนิคในการเลือกใช้งานค่าแรงปฏิกิริยาของโครงสร้างเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ สืบเนื่องมาจากเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมาซึ่งรวมถึงเมื่อวันอังคารที่ผ่านมาด้วยผมกำลังพูดถึงประเด็นเรื่อง วิธีการเติมโครงสร้างเสาเข็มใหม่เข้าไปในโครงสร้างฐานรากเดิมโดยที่ไม่เป็นการทำให้ตัวโครงสร้างฐานรากนั้นเปลี่ยนแปลงคุณลักษณะทางด้านความสมมาตรไป ซึ่งประเด็นก็คือ ผมได้ให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ ไปว่า หากเราเพิ่มโครงสร้างเสาเข็มเข้าไปใหม่ โดยที่มีขนาดเท่าๆ กันกับโครงสร้างเสาเข็มเดิมก็จะไม่มีปัญหาอันใด แต่ หากเราเพิ่มโครงสร้างเสาเข็มเข้าไปใหม่ … Read More

ภูมิปัญญาของช่างไทยในอดีตกับงานออกแบบและก่อสร้างระบบฐานรากของอาคาร

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ เมื่อสัปดาห์ก่อนผมมีโอกาสได้ไปทำงานออกแบบโครงสร้างฐานรากรองรับเครื่องจักรในบริเวณโรงพยาบาลพระมงกุฎ ซึ่งผมได้จอดรถไว้ที่อาคารจอดรถของทางโรงพยาบาล พอเดินออกมาที่หน้าประตูด้านที่ติดกับถนนใหญ่ที่จะมุ่งหน้าไปที่ฝั่งอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิผมก็ไปเจอกับกลุ่มอาคารเก่าแก่อยู่หลายหลังซึ่งตั้งอยู่ภายในโรงพยาบาลแห่งนี้ด้วย ซึ่งในระหว่างที่รอที่จะไปคุยงานผมก็ได้มีโอกาสเดินสำรวจดูสิว่า ลักษณะและรูปทรงต่างๆ ของอาคารหลังนี้นั้นเป็นอย่างไรและผมก็ได้พบว่า อาคารดังกล่าวนี้ยังคงความสวยงามตรงตามลักษณะต่างๆ ทางด้านงานสถาปัตยกรรมของอาคารที่มีการก่อสร้างขึ้นในสมัยโบราณ ทำให้เข้าใจได้เลยว่าเพราะเหตุใดทางโรงพยาบาลจึงเลือกที่จะทำการอนุรักษ์อาคารหลังนี้เอาไว้ให้คนรุ่นหลังๆ ได้มีโอกาสมารับชมกันน่ะครับ … Read More

การยกตัวอย่างเพื่ออธิบายเรื่องการกระจายตัวซ้ำของแรงภายในระบบโครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ สืบเนื่องจากเมื่อในสปัดาห์ที่แล้วที่ผมได้แชร์คลิปๆ หนึ่งจากเพจ OFFSHORE STRUCTURAL CORNER ซึ่งภายคลิปๆ นั้นเป็นกำลังฉายภาพคนงานที่กำลังรื้อถอนโครงสร้างเสาที่อยู่ทางด้านล่างของโครงสร้างอาคารหนึ่งออกไป ซึ่งเท่าที่ดูแล้วอาคารหลังนี้ก็น่าจะเป็นอาคารสูงด้วย ซึ่งผมได้ให้คำอธิบายไว้ว่า อาคารหลังนี้น่าที่จะได้รับการก่อสร้างด้วยกรรมวิธีปกติธรรมดาทั่วๆ ไป ซึ่งพอโครงสร้างของเรานั้นมีกระบวนการๆ … Read More

ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้ เทคนิคในการคำนวณหาระยะจุดศูนย์ถ่วงของชิ้นส่วนโครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ สืบเนื่องมาจากเมื่อวันอังคารที่ผ่านมาซึ่งผมได้ทำการอธิบายถึงเรื่อง การแก้ไขโครงสร้างฐานรากที่ใช้เสาเข็มโดยการเพิ่มจำนวนของโครงสร้างเสาเข็มเข้าไป ซึ่งผมได้อธิบายไว้ว่า หลักการที่ง่ายที่สุดในการเพิ่มคือ ให้ทำการเพิ่มจำนวนของเสาเข็มให้อยู่ตรงกันกับตำแหน่งของจุดศูนย์ถ่วงของโครงสร้างฐานราก หรือ หากทำเช่นนั้นไม่ได้ก็ให้ทำการตรวจสอบว่าตำแหน่งในการโครงสร้างเสาเข็มนั้นทำให้จุดศูนย์ถ่วงของกลุ่มโครงสร้างเสาเข็มให้ตรงกันกับตำแหน่งของจุดศูนย์ถ่วงของโครงสร้างฐานรากน่ะครับ ซึ่งในวันนั้นผมเองก็ได้ให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ ไว้ด้วยว่า สมการในการตรวจสอบตำแหน่งของจุดศูนย์ถ่วงของกลุ่มโครงสร้างเสาเข็มนั้นก็คือสมการ … Read More

1 2 3 4 5